ประวัติความเป็นมาของหลักสูตร สาขาวิชาจิตวิทยาเพื่อการพัฒนาศักยภาพมนุษย์

ประวัติความเป็นมาของหลักสูตร

  • ในปีการศึกษา 2546 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาเพื่อการพัฒนามนุษย์ได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต และผ่านการพิจารณาความ
    เห็นชอบจากส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ให้เปิดด าเนินการตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2546 มุ่งเน้นการผลิตมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
    สาขาวิชาจิตวิทยาเพื่อการพัฒนามนุษย์ ประกอบด้วยการเสริมสร้างศักยภาพ ด้านพลังปัญญา คุณค่า คุณธรรม คุณประโยชน์ พร้อมความรู้ความคิด จิตสังคม และการพัฒนาที่จะเป็นผู้น า ในการ
    พัฒนาและเปลี่ยนแปลง และเป็นก าลังส าคัญในการน าศาสตร์และนวัตกรรมทางจิตวิทยาไปใช้ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ในทิศทางที่พึงประสงค์ ตลอดทั้งสรรค์สร้างคุณภาพชีวิตและบริบทแวดล้อม
    มุ่งสู่คุณภาพ และดุลยภาพที่ยั่งยืนของมนุษย์และสังคม
  • ในปีการศึกษา 2550 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาเพื่อการพัฒนามนุษย์ได้ปรับปรุงหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานระดับอุดมศึกษา มุ่งเน้นการผลิต
    มหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาเพื่อการพัฒนามนุษย์ ครอบคลุม กลุ่มวิชาที่ส่งเสริมให้มหาบัณฑิตมีคุณภาพ สามารถตอบรับการเปลี่ยนแปลงและภาวการณ์ แข่งขันกับนานาประเทศ และมุ่งพัฒนา
    สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาคนให้มีคุณภาพ จริยธรรม มีความรอบรู้อย่างเท่าทันความหลากหลายทางวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม โดยให้มหาบัณฑิตมี
    สมรรถนะด้านความรู้ความคิด มีความสามารถในวิธีการเรียนรู้ วิธีการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถใช้ความคิด วิเคราะห์ในการแก้ปัญหา พร้อม ด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีสัมพันธภาพที่ดีและมี
    จิตส านึกต่อส่วนรวม และสามารถน าความรู้ทางด้านจิตวิทยาไปเสริมสร้างคุณภาพของตน ชุมชนและสังคมไทย ในการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยมีการปรับปรุงโครงสร้าง หมวดวิชาที่เป็นองค์ประกอบ
    ของหลักสูตร เพิ่มทางเลือกให้มีการเสนอแผน ข หลักสูตร
  • ในปีการศึกษา 2555 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาเพื่อการพัฒนามนุษย์ ได้มีการปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา โดยปรับชื่อสาขา
    เป็นสาขาจิตวิทยาเพื่อการพัฒนาศักยภาพมนุษย์ ปรับโครงสร้างหลักสูตรประกอบด้วยวิชาแกน วิชาเฉพาะ วิชาเลือกให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถใน
    ศาสตร์และวิชาชีพทางจิตวิทยาสามารถน าไปใช้ประโยชน์ในการเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์และสังคม มีการแสวงหาความรู้และบูรณาการศาสตร์อย่างต่อเนื่อง ใช้หลักคุณธรรม จริยธรรมและ
    จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
  • ในปีการศึกษา 2559 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาเพื่อการพัฒนาศักยภาพมนุษย์ ได้มีการปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา โดยปรับ
    โครงสร้างหลักสูตรมีแผนการศึกษา 2 แผน คือ แผนก ก. (แบบ ก. 2) เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัย โดยมีการท าวิทยานิพนธ์และศึกษารายวิชา และแผน ข เป็นแผนการศึกษาที่เน้นและศึกษา
    รายวิชา และมีการศึกษาค้นคว้าอิสระ โครงสร้างหลักสูตรแต่ละแผนประกอบด้วย วิชาเสริมพื้นฐาน วิชาเฉพาะ วิชาเลือก และวิทยานิพนธ์ หรือการค้นคว้าอิสระ เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
    ที่มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความคิดเป็นระบบ ความคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ การคิดแก้ปัญหา และการตัดสินใจ สามารถประยุกต์ใช