ผลงาน

ผลงานอาจารย์

1.ศาสตราจารย์ (พิเศษ) จรัญ ภักดีธนากุล

ผลงานวิชาการ

– Jaran pukdeetanakul, Judicial Review by the Constitutional Court for the Protection of the Rule of Law and Democratic Governance in Thailand Presented in the International conference at Thammasat University on 1 April 2015

– Jaran pukdeetanakul and Sirawat Lipipant, ‘The Constitutional Court and lts Duty in Reviewing the Draft Constitutional Amendment’, วารสาร ศาลรัฐธรรมนูญ ปีที 22 เล่มที่ 64 (มกราคม-เมษายน 2563): 11-20.

– ผลงานนำเสนอที่รัสเซีย จะเป็นการนำเสนอในฐานะผู้แทนศาลรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ในการประชุมนานาชาติของศาลรัฐธรรมนูญแห่งสหพันธรัฐรัสเซีย หัวข้อ “รัฐธรรมนูญในยุคสมัยแห่งการเปลี่ยนแปลงระดับโลกและเป้าหมายของการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ” (The International Conference “Constitution in the Global Change Epoch and the Goals of Constitutional Review”) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการประชุมนานาชาติทางกฎหมายของนครเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ครั้งที่ 8 (The VIII St. Petersburg International Legal Forum) ระหว่างวันที่ 13 – 17 พฤษภาคม 2561 ณ สหพันธรัฐรัสเซีย

– รศ.คณาธิป ทองรวีวงศ์, ศ.พิเศษ จรัญ ภักดีธนากุล และผศ.ดร.ชลธิชา สมสอาด, การคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัวจากมาตรการควบคุมโรคติดต่อโควิด 19 : ศึกษาความชอบด้วยกฎหมายในการอ้างฐานประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลชนิดพิเศษตามข้อตกลง “Line Application“หมอพร้อม, วารสารนิติศาสตร์และสังคมท้องถิ่น ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (2565): กรกฎาคม – ธันวาคม. 73-95.    

 

2.ศาสตราจารย์พรชัย สุนทรพันธุ์

ผลงานวิจัย

พรชัย สุนทรพันธุ์ และคณะ. (2563). ข้อมูลกฎหมายของประเทศฟิลิปปินส์และข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสังคม วัฒนธรรม การเมือง และความมั่นคงของประเทศฟิลิปปินส์. รายงานการวิจัยเสนอสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. 367 หน้า.

บทความทางวิชาการ    

พรชัย สุนทรพันธุ์.(2560). ความรับผิดของแพทย์ผู้ให้บริการตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ.2558. วารสารการบริหารปกครอง  6 (ฉบับพิเศษ) (กันยายน), 22-38.

พรชัย สุนทรพันธุ์.(2560). ความเป็นทายาทของบุตรที่เกิดตาม

พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ.2553.วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 8 (2) (กรกฎาคม – ธันวาคม), 1-11.

 

3.รองศาสตราจารย์อรวรรณ พจนานุรัตน์

ผลงานวิจัย

-อรวรรณ พจนานุรัตน์. (2562). การเสียภาษีเงินได้สำหรับส่วนแบ่งของกำไรหรือส่วนแบ่งเงินได้จากห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล. วารสารเกษมบัณฑิต 20(1) (มกราคม-มิถุนายน), 93-104.

-คณาธิป ทองรวีวงศ์, อรวรรณ พจนานุรัตน์และ ดวงกมล ศรีสุวรรณ์. (2565). การคุ้มครองสิทธิในข้อมูลส่วนบุคคลของลูกจ้างโรงงานอุตสาหกรรมจากการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคติดเชื้อโควิด 19 สำหรับโรงงานอุตสาหกรรม (Good Factory Practice (GFP)). วารสารการบริหารปกครอง 12 (1) (มกราคม-มิถุนายน), 51-69.

บทความทางวิชาการ

อรวรรณ พจนานุรัตน์.(2564). ความหมายของคำว่าขายตามประมวลรัษฎากร.วารสารวิทยาลัยรัชต์ภาคย์ 15(39) (มีนาคม – เมษายน), 240-249.

ดวงกมล ศรีสุวรรณ์ และอรวรรณ  พจนานุรัตน์. (2564). การจัดเก็บภาษี

จากผู้รับมรดก. วารสารวิทยาลัยรัชต์ภาคย์ 15(40) (พฤษภาคม-มิถุนายน), 43-53.

 

4.รองศาสตราจารย์คณาธิป ทองรวีวงศ์

 

รางวัลหรือผลงานดีเด่นที่เคยได้รับ

รางวัลเหรียญทอง ประเภทบทความวิจัยในการประชุมระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า

เจ้าคุณทหารลาดกระบัง พระจอมเกล้าลาดกระบัง (บทความวิจัย : คณาธิป ทองรวีวงศ์. ผลกระทบต่อสิทธิ

มนุษยชนของมาตรการป้องกันโรคตามที่ทางราชการกำหนดเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19: ศึกษากรณีความยินยอมของผู้ใช้บริการแอปพลิเคชั่นหมอชนะ, การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 6 และการประชุมวิชาการระดับนานาชาติครั้งที่ 2. วันที่ 27-28 พฤษภาคม 2564 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ จังหวัดชุมพร

รางวัลบทความวิจัยดีเด่น (Best paper award) งานประชุมวิชาการ NICHSS มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ครั้งที่ 13 ,29 มีนาคม 2564 ( บทความวิจัย : คณาธิป ทองรวีวงศ์, การคุ้มครองเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลจากมาตรการป้องกันโรคตามที่ทางราชการกำหนดเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 : ศึกษากรณีความยินยอมของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับแอปพลิเคชั่นไทยชนะ)

ผลงานวิจัย

1) คณาธิป ทองรวีวงศ์. (2564). ผลกระทบทางลบอันเกิดจากกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของสหภาพยุโรปและพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562. วารสารวิทยาลัยรัชต์ภาคย์15(38) (มกราคม – กุมภาพันธ์): หน้า 13-27.

2) คณาธิป ทองรวีวงศ์ , ดวงกมล ขวัญยืน (2563) การคุ้มครองสิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลจากการทำสัญญาแบบสมาร์ท: ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลยุโรปและพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 , วารสารรัชต์ภาคย์, ปีที่ 14 ฉบับที่ 34 พฤษภาคม-มิถุนายน,หน้า 125-139

3) ชลธิชา สมสอาด, คณาธิป ทองรวีวงศ์(2561) ผลกระทบทางกฎหมายของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 ในการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลจากการส่งสแปม ,วารสารเกษมบัณฑิต. ปีที่ 19, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2561), หน้า 57-76

4) Thongraweewong, Kanathip. (2018) Legal limitations relating to the Application of ThaiComputer–related Crime Act of B.E. 2560 to the case of “Phishing”. Kasem BunditJournal , Volum 19 special edition, May-June , 2018, p100-111

5) Thongraweewong, Kanathip. (2017) The Legal Protection of Personal Data in the Caseof “Google Street View”: A Comparative Study of US, EU, and Thai laws. Social ScienceAsia 3,1 (January 2017): 41-52.

6) รศ.คณาธิป ทองรวีวงศ์, ศ.พิเศษ จรัญ ภักดีธนากุล และผศ.ดร.ชลธิชา สมสอาด, การคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัวจากมาตรการควบคุมโรคติดต่อโควิด 19 : ศึกษาความชอบด้วยกฎหมายในการอ้างฐานประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลชนิดพิเศษตามข้อตกลง “Line Application“หมอพร้อม, วารสารนิติศาสตร์และสังคมท้องถิ่น ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (2565): กรกฎาคม – ธันวาคม. 73-95. 

7)คณาธิป ทองรวีวงศ์, อรวรรณ พจนานุรัตน์และ ดวงกมล ศรีสุวรรณ์. (2565). การคุ้มครองสิทธิในข้อมูลส่วนบุคคลของลูกจ้างโรงงานอุตสาหกรรมจากการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคติดเชื้อโควิด 19 สำหรับโรงงานอุตสาหกรรม (Good Factory Practice (GFP)). วารสารการบริหารปกครอง 12 (1) (มกราคม-มิถุนายน), 51-69.

บทความทางวิชาการ    

1) คณาธิป ทองรวีวงศ์. (2563) “สิทธิในข้อมูลส่วนบุคคลที่ไม่ได้รับการคุ้มครองตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 : การเก็บ รวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล ตามกฎหมายเกี่ยวกับความมั่นคงของรัฐ”. วารสารกฎหมายสิทธิมนุษยชน. ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม – เมษายน2563)

2) คณาธิป ทองรวีวงศ์ และ ชลธิชา สมสอาด (2564) “การปรับใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2560 กับการหลอกลวงเกี่ยวกับความสัมพันธ์เชิงความรักที่กระทําทางระบบคอมพิวเตอร์”. วารสารรัชต์ภาคย์ (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ,ปีที่ 15 ฉบับที่ 39 มีนาคม – เมษายน 2564 , หน้า 230-239.

3) คณาธิป ทองรวีวงศ์. (2561) “มาตรการทางกฎหมายสิทธิมนุษยชนในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของผู้ถูกเลือกปฏิบัติด้วยเหตุกรณีประวัติอาชญากรรมในบริบทของ การจ้างแรงงาน”. วารสารวิชาการสิทธิมนุษยชน. ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2560)

4) คณาธิป ทองรวีวงศ์. (2561). เกณฑ์การปกป้องสิทธิมนุษยชนสำหรับการประเมินความสอดคล้องของหลักกฎหมายที่ให้อำนาจเข้าถึงหรือได้มาซึ่งข้อมูลการสื่อสารของบุคคลในระบบคอมพิวเตอร์ ตามพระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ที่แก้ไขฉบับที่ 2 พ.ศ. 2560. วารสารวิชาการสิทธิมนุษยชน. ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2561) หน้า 7-40.

5) คณาธิป ทองรวีวงศ์. (2561). เกณฑ์สำหรับการประเมินความสอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชนของหลักกฎหมายที่จำกัดเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ที่แก้ไขฉบับที่ 2 พ.ศ. 2560 , วารสารวิชาการสิทธิมนุษยชน ปีที่ 3, ฉบับที่ 2(กรกฎาคม – ธันวาคม 2561) หน้า 31-64

6) คณาธิป ทองรวีวงศ์(2561) การคุ้มครองสิทธิที่จะถูกลืมในบริบทการสื่อสารข้อมูลดิจิทัล : ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของสหภาพยุโรป กับ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2560 , วารสารนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2561 , หน้า 31-37

7) คณาธิป ทองรวีวงศ์(2560) พันธกรณีของประเทศไทยตามอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (CERD) : ศึกษากรณี การสื่อสารที่ทำให้เกิดความเกลียดชังทงคอมพิวเตอร์ (Online Hate Speech) ในกรอบพระราชบัญยัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิมเตอร์ (ฉบับที่2) พ.ศ. 2560 , วารสารนิติศาสตร์และสังคมท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ปีที่ 2, ฉบับที่ 2(กรกฎาคม – ธันวาคม 2561) หน้า 111-141

8) คณาธิป ทองรวีวงศ์ (2560) ข้อยกเว้นของการเปิดเผยข้อมูลตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 : ศึกษากรณีข้อมูลส่วนบุคคล , วารสารนิติศาสตร์และสังคมท้องถิ่น ปีที่ 1 ฉบับที่ 1,(มกราคม-มิถุนายน 2560) หน้า 47-79.

 

ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น

-ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดำเนินการคณาธิป ทองรวีวงศ์ และคณะ (2560). กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ , รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ , สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ) จำนวน 618 หน้า (ผู้ว่าจ้างสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ)

-คณาธิป ทองรวีวงศ์ และคณะ (2561). การศึกษากรอบในการติดตามการพัฒนาและบังคับใช้กฎหมายในการควบคุมการพนันผ่านช่องทางออนไลน์. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์, ศูนย์ข้อมูลนโยบายสาธารณะการลดปัญหาจากการพนัน มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.) จำนวน 157 หน้า (ผู้ว่าจ้าง มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ(มสช.)

รายงานการวิจัยที่ยังไม่ได้เผยแพร่ในรูปแบบบทความวิจัย

1) คณาธิป ทองรวีวงศ์. (2560). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การปฏิรูปกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของไทยเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.ได้รับทุนวิจัยปีงบประมาณ 2559 ตรวจรับและเผยแพร่ 2560

https://library.parliament.go.th/th/researchrelated/raynganwicaychbabsmbuurn-eruuexng

2) คณาธิป ทองรวีวงศ์ (2562) , การพัฒนากฎหมายอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ของประเทศไทยเพื่อการป้องกันและปราบปรามการฉ้อโกงหลอกลวงทางคอมพิวเตอร์ในบริบทเศรษฐกิจดิจิทัล ,กรุงเทพ ,มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต.

3) คณาธิป ทองรวีวงศ์(2562). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การประเมินความสอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชนของกฎหมายเกี่ยวกับความมั่นคงของรัฐ ที่เป็นข้อยกเว้นของ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต.

 

งานวิจัย ที่นำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติ / นานาชาติ และเผยแพร่ในรายงานสืบเนื่อง

(Conference proceeding)

1) คณาธิป ทองรวีวงศ์ (2561) การปรับใช้ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2560 กับ เนื้อหาที่กระทบชื่อเสียงของบุคคลทางระบบคอมพิวเตอร์, , การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 และระดับนานาชาติ ครั้งที่ 2 (4 th TECHCON 2018 and

2 nd ITECH 2018)“การพัฒนานวัตกรรมเพื่อเทคโนโลยีสู่เศรษฐกิจที่ยั่งยืน” 29 มิย 25612) คณาธิป ทองรวีวงศ์, ปราชญา อ่อนนาค และ กุสุมา สุนประชา. การพัฒนากฎหมายในการควบคุมการพนันผ่านช่องทางออนไลน์ในประเทศไทย. รายงานสืบเนื่อง การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาลัยนครราชสีมาครั้งที่ 8 ประจำปีการศึกษา 2564 27 มีนาคม 2564.หน้า 726-734.

3) คณาธิป ทองรวีวงศ์ (2564) ผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชนของมาตรการป้องกันโรคตามที่ทางราชการกำหนดเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19: ศึกษากรณีความยินยอมของผู้ใช้บริการแอปพลิเคชั่นหมอชนะ. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 6 และการประชุมวิชาการระดับนานาชาติครั้งที่ 2. วันที่ 27-28พฤษภาคม 2564 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ จังหวัดชุมพร. หน้า OSS-99: 649-656.

4) คณาธิป ทองรวีวงศ์ (2564) การคุ้มครองเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลจากมาตรการป้องกันโรคตามที่ทางราชการกำหนดเพื่อป้องกัน การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ศึกษากรณีความยินยอมของผู้ประกอบการในการใช้แอปพลิเคชันไทยชนะ. งานประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปี 2564. หน้า 349-360.

5) คณาธิป ทองรวีวงศ์ (2564) ความหมายทางกฎหมายและความสอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชนของ“ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่บิดเบือน” ตามมาตรา 14 (1) พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2560. การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาลัยนครราชสีมา ครั้งที่ 8 ประจำปีการศึกษา 2564 27 มีนาคม 2564. หน้า 716-725.

 

5.ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชลธิชา สมสอาด

งานวิจัย                            

ชลธิชา สมสอาดและคณาธิป ทองรวีวงศ์.(2561). ผลกระทบทางกฎหมายของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 ในการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลจากการส่งสแปม. วารสารเกษมบัณฑิต 19(2) (กรกฎาคม – ธันวาคม), 57-76.

– รศ.คณาธิป ทองรวีวงศ์, ศ.พิเศษ จรัญ ภักดีธนากุล และผศ.ดร.ชลธิชา สมสอาด, การคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัวจากมาตรการควบคุมโรคติดต่อโควิด 19 : ศึกษาความชอบด้วยกฎหมายในการอ้างฐานประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลชนิดพิเศษตามข้อตกลง “Line Application“หมอพร้อม, วารสารนิติศาสตร์และสังคมท้องถิ่น ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (2565): กรกฎาคม – ธันวาคม. 73-95. 

บทความทางวิชาการ

-คณาธิป ทองรวีวงศ์ และชลธิชา สมสอาด. (2564). การปรับใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. 2550 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2560 กับ การหลอกลวงเกี่ยวกับความสัมพันธ์เชิงความรักที่กระทำทางระบบคอมพิวเตอร์ วารสารวิทยาลัยรัชต์ภาคย์ 15(39) (มีนาคม – เมษายน), 230-239

-ชลธิชา สมสอาด. (2564). ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์งานประติมากรรมที่ตั้งประจำอยู่ในที่สาธารณะตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์พ.ศ. 2537 วิเคราะห์เปรียบเทียบกฎหมายลิขสิทธิ์ของประเทศญี่ปุ่น. วารสารวิทยาลัยรัชต์ภาคย์ 15(40) (พฤษภาคม-มิถุนายน),54-66.

6.อาจารย์ดวงกมล ศรีสุวรรณ์

งานวิจัย

คณาธิป ทองรวีวงศ์ และดวงกมล ขวัญยืน. (2563). การคุ้มครองสิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลจากการทำสัญญาแบบสมาร์ท:ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลยุโรป และพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562. วารสารวิทยาลัยรัชต์ภาคย์ 14(34) (พฤษภาคม – มิถุนายน), 125-139.

-คณาธิป ทองรวีวงศ์, อรวรรณ พจนานุรัตน์และ ดวงกมล ศรีสุวรรณ์. (2565). การคุ้มครองสิทธิในข้อมูลส่วนบุคคลของลูกจ้างโรงงานอุตสาหกรรมจากการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคติดเชื้อโควิด 19 สำหรับโรงงานอุตสาหกรรม (Good Factory Practice (GFP)). วารสารการบริหารปกครอง 12 (1) (มกราคม-มิถุนายน), 51-69.

บทความทางวิชาการ

-สุทธิพงษ์  บุญพอ และดวงกมล ขวัญยืน. (2563). สถานภาพของหน่วยงานของรัฐที่จัดตั้งขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการจัดตั้งองค์การของรัฐบาล พ.ศ. 2496. วารสารเกษมบัณฑิต 21(1) (มกราคม-มิถุนายน), 61-76.

-ดวงกมล ศรีสุวรรณ์ และอรวรรณ  พจนานุรัตน์. (2564).การจัดเก็บภาษีจากผู้รับมรดก. วารสารวิทยาลัยรัชต์ภาคย์ 15(40) (พฤษภาคม-มิถุนายน), 43-53.

 

ผลงานนักศึกษา

 

นาย การรับรองคุณวุฒิของ กพ.

 

Skip to toolbar